ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงการเกิด”โรคร้ายแรง” เรื่องที่คนรุ่นใหม่ควรรู้

ปัจจัยเสี่ยง   ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง   การบริหารความเสี่ยง   การวิเคราะห์ความเสี่ยง   การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน   กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง   ตัวอย่างความเสี่ยง

 

 

ปัจจัยเสี่ยง เรื่องสุขภาพประมาทไม่ได้ หันมาใส่ใจสุขภาพ ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง เพื่อรู้ถึงความเสี่ยง ยิ่งรู้ก่อน ยิ่งป้องกันได้ไว โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ที่ โหมออกกำลังกาย อย่างที่เห็นกันตามข่าวอยู่ทุกวัน ทั้งนักกีฬานักวิ่งที่สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ดี ๆ จู่ ๆ ก็เสียชีวิตแบบไม่ทันตั้งตัว นักเดินทางชาวไทยที่ชื่นชอบการเดินป่า ปีนเขาที่พากันไปเสียชีวิตกันที่เทือกเขาหิมาลัย ประเทศเนปาล

ปัจจัยเสี่ยง 

การบริหารความเสี่ยง

หรือคุณหมอที่ยังหนุ่มยังแน่นตรวจพบ โรคร้ายในร่างกาย ตำรวจหนุ่มกล้ามโต หรือแม้แต่เทรนเนอร์ฟิตเนทเองก็ตาม แม้จะดูแลสุขภาพร่างกายให้ขนาดไหน การบริหารความเสี่ยง ก็ไม่สามารถรู้ได้เลยว่าในร่างกายมีโรคร้ายอะไรซ่อนอยู่ ปัจจุบันโลกกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและเกิดโรคระบาดแปลกใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำให้คนส่วนใหญ่หันมาใส่ใจดูแลตัวเองมากขึ้น จนกลายเป็นเทรนด์สุขภาพ เพราะไม่อยากเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ

การวิเคราะห์ความเสี่ยง

จนทำให้คนหันมาให้ความสนใจ Healthcare and Wellness อย่างมีนัยยะสำคัญ เพราะโรคภัยเหล่านี้หากรู้ตัวก่อนก็สามารถป้องกันได้และสาเหตุของการเสียชีวิตในอันดันต้น ๆ การวิเคราะห์ความเสี่ยง เสียชีวิตเยอะจากโรคติดต่อไม่เรื้อรัง แต่ทว่าหนึ่งในโรคที่คนเสียชีวิตมากจนน่าตกใจ ก็คือ NCDs โรคติดต่อไม่เรื้อรัง ไม่ร้ายแรง แต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้ชีวิตหลายสิ่งหลายอย่าง ที่ปฏิบัติซ้ำ ๆ มาเป็นเวลานาน

ปัจจัยเสี่ยง 

การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน

เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ซึ่งก็อาจจะมาจากน้ำหนักตัวที่ค่อนข้างเยอะ การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง การสูบบุหรี่ การทานอาหารที่มีรสเค็มมาก ๆ การประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน และอาจจะเกิดจากพันธุกรรม หรือกรรมพันธุ์ ซึ่งบางทีปัจจัยเหล่านี้ ก็จะส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ขึ้นในระยะเวลาที่แตกต่างกัน อันดันต้นๆการเสียชีวิตจากโรคติดต่อไม่เรื้อรัง

กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยง

บางคนก็อาจจะเกิดจากปัจจัยหลายอย่างเป็นตัวเร่ง ทำให้เกิดอาการของโรคได้เร็วยิ่งขึ้น ซึ่งบางทีปัจจัยเหล่านี้ก็จะมีผลต่อการเร่งให้เกิดโรคต่าง ๆ กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงได้ในระยะเวลาที่แตกต่างกัน นพ.อกนิษฐ์ ศรีสุขวัฒนา หรือหมอแอร์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์ อนุสาขาอายุรศาสตร์โรคหัวใจ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ และโรงพยาบาลยันฮี ให้ข้อมูลว่า

ปัจจัยเสี่ยง 

ตัวอย่างความเสี่ยง

บางคนใช้ชีวิตแบบมีปัจจัยที่เป็นตัวเร่งหลายอย่าง ก็จะเกิดโรค พบอาการของโรคเร็วขึ้น บางครั้งบางคนก็มาเจอตอนที่อายุมากแล้ว แน่นอนว่าต่อให้ร่างกายแข็งแรงแค่ไหน ตัวอย่างความเสี่ยง แต่พฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่ปฏิบัติซ้ำ ๆ ก็จะมีความเกี่ยวข้องด้วยทั้งหมด ดังนั้น เราจึงต้องดูแลร่างกายตัวเองควบคู่กันไปด้วย ปัจจัยเสี่ยง

 

 

ขอบคุณเครดิต  bangkokbiznews.com

 

ข่าวแนะนำ