เศรษฐกิจโลกวิกฤตเศรษฐกิจโลกเริ่มแล้ว บีบนักลงทุนหนีออกจากตลาดอีกรอบ

เศรษฐกิจโลกล่าสุด  เศรษฐกิจโลก 2566  แนวโน้มเศรษฐกิจโลก  วิเคราะห์เศรษฐกิจโลก 2566 แนวโน้มเศรษฐกิจโลก  วิเคราะห์เศรษฐกิจโลก 2566  ข่าวเศรษฐกิจโลก

 

 

เศรษฐกิจโลก  ผลกระทบจากโควิด 19 ยังไม่ทันจางหาย….”วิกฤตเศรษฐกิจ”กำลังจะมาในอีกไม่ช้านี้ เงินในกรเป๋าที่มีมูลค่าลดลงไปเรื่อยๆจากราคาสินค้าและอัตราเงินเฟ้อที่พุ่งสูงอย่างต่อเนื่อง  ส่วนพอร์ตการลงทุนที่สะสมมาเริ่มสั่นคลอนจากสถานการณ์โลกที่ผันผวน นี่เราต้องอยู่กับโควิด 19 เศรษฐกิจโลกล่าสุด ไปพร้อมกับสงคราม และ เศรษฐกิจที่ย่ำแย่หรือนี่?ฟังดูมีเรื่องร้าย เรื่องลบ ที่บั่นทอนกำลังใจ แต่วันนี้กองบรรณาธิการ SPOTLIGHT ได้นำบทสัมภาณ์ของ ดร.จิตติพล พฤกษาเมธานันท์ นักกลยุทธ์การลงทุน จากบลจ.ยูโอบี หรือ ดร.โจ๊ก มาฝากผู้อ่านเพื่อหวังว่า จะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้เราได้เข้าใจในสถานกาณ์ว่า “วิกฤตเศรษฐกิจโลก” ที่เรากำลังจะเจอในครั้งนี้หน้าตาเป็นอย่างไร  และสำหรับพอร์ตการลงทุนของเราที่กำลังสั่นคลอนอยู่ตอนนี้จะเอายังไงกันต่อดี….

เศรษฐกิจโลก

เศรษฐกิจโลกล่าสุด

ถ้าเราประเมินสถานการณ์ในฝั่งตลาดการเงินถือว่าวิกฤตไปแล้วครับ!เพราะสินทรัพย์ต่างๆปรับฐานลงมาแรงมากตามปกติเวลาใช้คำว่าปรับฐานเฉยๆ คือการลดลงประมาณ 10% การเข้าสู่ภาวะตลาดหมี หรือวิกฤตคือลงประมาณ 20% ซึ่งผมว่าไม่ต้องรอให้ทุกสินทรัพย์ลดลงถึง 20% เศรษฐกิจโลก 2566ก็ได้ครับก็สามารถเรียกว่าวิกฤตได้แล้วในฝั่งของเศรษฐกิจมีมุมมองและทฤษฎีที่แตกต่างกันไปแต่ถ้าให้ประเมินปัจจุบันนี้ ยังไม่ถือว่าเป็นวิกฤตเศรษฐกิจแต่หากมองไปในอนาคต เรื่องที่เรากำลังติดตามอยุ่ตอนนี้ทั้งราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นการปรับขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ และภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว เหล่านี้ครับคือส่วนผสมของวิกฤติเศรษฐกิจที่กำลังจะเกิดขึ้นทั้งฝั่งตลาดเกิดใหม่ รวมไปถึงตลาดที่พัฒนาแล้วครับ

เศรษฐกิจโลก

เศรษฐกิจโลก 2566

ผมคิดว่า โอกาสวิกฤตเศรษฐกิจภายในปีนี้ยังไม่สูงมากนักแต่ประเด็นที่น่าสนใจคือ สูตรหรือองค์ประกอบในการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจมาครบหมดแล้วครับ เหลือแค่รอเวลาเท่านั้นเอง สุดท้ายต้องดูว่ามี trigger point (ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนด) ตรงไหน ที่จะทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจได้จริง ๆ  อย่างตอนนี้ฝั่งธนาคารกลางสหรัฐขึ้นดอกเบี้ย แนวโน้มเศรษฐกิจโลก  และเค้ามีการประชุมทุก 6 สัปดาห์  เป็นจุดหนึ่งที่ตลาดใช้เป็นมาตรวัดว่า เฟดจะทนไปได้นานแค่ไหน เมื่อขึ้นดอกเบี้ยไปเรื่อย ๆจะขึ้นดอกเบี้ยไปอีกขนาดไหน แล้วต้นทุนทางการเงินจะปรับขึ้นเรื่อย ๆ  ซึ่งเราจะเข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อต้นทุนทางการเงินของธนาคารกลางสหรัฐจริงๆ คือ 2.5% ขึ้นไป  ถึงตอนนั้นจะเรียกว่าวิกฤติแล้ว  ซึ่งอยากเปรียบเทียบว่า”การขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ มีลักษณะคล้ายกับเรากำลังทำอาหารการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดนั้นคือการเร่งไฟขึ้นเรื่อยๆ แต่วิกฤติจะเกิดขึ้น คืออาหารจะเดือดตอนไหนกันแน่…ไม่มีใครทราบ แต่เรารู้เพียงว่า ไฟที่แรงขึ้นนั้นมันจะส่งผลกระทบกับอะไรซักอย่างแน่ๆ ถ้าเราไม่มีการทำอะไรเลย”

 

ตัวอย่างเช่น  พอธนาคารกลางสหรัฐขึ้นดอกเบี้ยบางประเทศ ค่าเงินประเทศนั้นอ่อนลง วิเคราะห์เศรษฐกิจโลก 2566เพราะมีการย้ายเงินออกไปฝากที่สหรัฐฯเนื่องจากดอกเบี้ยสูงกว่าอยู่ที่ 1% และลองคิดดูว่า อีกภายใน 2 เดือนดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐจะขึ้นไปถึง 2% ถามว่า เราอยากฝากมั้ยครับ? ถ้าเงินไหลออกไปที่สหรัฐ ประเทศนั้นก็จะเจอกับค่าเงินทีอ่อนลง และค่าเงินอ่อน จะเป็นปัญหากับประเทศที่นำเข้า อย่างประเทศไทยเรานำเข้าน้ำมัน พลังงาน พอค่าเงินอ่อนก็ต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพงขึ้น เราก็จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจอีกรูปแบบนึง

 

เศรษฐกิจโลก
ธนาคารกลางสหรัฐขึ้นดอกเบี้ยเพื่อคุมเงินเฟ้อ ในอดีตเคยขึ้นสูงสุดเกินกว่า 15% ในครั้งนี้เชื่อว่าจะขึ้นดอกเบี้ย 2.50%

แนวโน้มเศรษฐกิจโลก

มีความต่างกันทุกรอบเลยครับ ในภาษาเศรษฐกิจบอกว่า ครอบครัวที่มีความสุขจะเหมือนกันหมดแต่พอครอบครัวไหนไม่มีความสุข ก็จะมีปัญหาแตกต่างกัน อย่างปัญหาของไทย ไม่ใช่ปัญหาเงินเฟ้อ แต่มักจะมาจากปัญหาการกู้ยืมเงินเกินตัว พอดอกเบี้ยขึ้นก็จะมีต้นทุนทางการเงินที่สูงตามไม่มีเงินจะจ่าย เหมือนในอดีตเคยมีวิกฤติมาแล้วในมุมมองของประเทศไทย คนส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องสินค้าอุปโภคบริโภคราคาแพง ซี่งที่จริงเราผลิตได้เอง ส่วนการกู้ยืมเงินของไทยหลังวิกฤติปี2540 ตอนนี้เรามีหนี้ต่างประเทศน้อยลง แนวโน้มเศรษฐกิจโลก ดอกเบี้ยเราสามารถควบคุมเองได้  ดังนั้นประเทศไทยมีปัญหาเดียวก็คือ สินค้านำเข้าที่ตลาดโลกมีราคาแพง  มาพร้อมกับค่าเงินบาทที่อ่อนค่านั่นเป็นปัญหาที่เราต้องระวังในฝั่งของเอมริกาจะเจอทฤษฎีเงินเฟ้อ จริงๆ ตัวอย่างประเทศในแถบลาตินมีการกู้ยืมเป็นดอลลาร์มากเมื่อค่าเงินในประเทศอ่อนค่าก็มีผลต่อเศรษฐกิจหนักเลย เงินเฟ้อก็สูงอย่างบราซิล อาเจนติน่า เงินเฟ้อสูงเป็นสิบเปอร์เซนต์ รายได้ไม่รู้จะขึ้นได้ยังไงให้ทันรายจ่าย

เศรษฐกิจโลก
เงินเฟ้อสูงในสหรัฐเป็นความเสี่ยงของการลงทุน แต่จะเริ่มปรับตัวลงเรื่อยๆ จากนี้เป็นต้นไป

วิเคราะห์เศรษฐกิจโลก 2566

ขณะที่วิกฤตทางฝั่งยุโรป จะเกิดจากแรงงานที่แตกต่างกัน เพราะใช้แรงงานจากผู้อพยพจากยุโรปตะวันออกวิเคราะห์เศรษฐกิจโลก 2566 พอมีปัญหากับรัสเซีย นอกจากพลังงานราคาสูงขึ้นแล้ว ยังเจอความปั่นป่วนของแรงงาน ส่วนถ้าเป็นวิกฤตในญี่ปุ่น จะเจอกับภาวะถดถภอย และ อนาคตจะคล้ายยุโรปนั่นคือ ประชากรจะลดจำนวนลงครับในภาพระยะสั้นนะครับ จุดที่ต้องติดตามมีทั้งหมด 3 เรื่องเรื่องแรก ภาวะเงินเฟ้อจะยังเกิดขึ้นต่อรึเปล่า  ถ้าเงินเฟ้อสูงต่อเนื่อง จะส่งผลให้การจับจ่ายใช้สอยคนลดน้อยลง รายได้ของบรรดาบริษัทต่างๆ ข่าวเศรษฐกิจโลกก็จะชะลอตัวตามไปด้วย จนกว่าเรื่องนี้จะหายไป เราถึงจะเห็นตลาดเงินตลาดทุนกลับมาอู้ฟู่ หุ้นทีเราลงทุนจึงต้องรอจังหวะเงินเฟ้อเป็นอย่างแรกเรื่องที่2 ต้นทุนทางการเงิน  ตอนนี้แบงค์ชาติไทยยังไม่ขึ้นดอกเบี้ย แต่ธนาคากลางสหรัฐปรับขึ้นดอกเบี้ยไปแล้ว และบอกด้วยว่าอยากเห็นดอกเบี้ยในปีนี่ที่  2.5%  ซึ่งจะมีนักลงทุนที่ถือตราสารหนี้จึงเตรียมย้ายเงินไปในฝั่งของสหรัฐฯ โดยรอเวลาให้ดอกเบี้ยขึ้นไปสูงกว่าปัจจุบันที่ระดับ 1%  ไปถึง 2.5%  ดังนั้นเท่ากับตลาดตราสารหนี้ ก็เลยเกิดภาวะชะลอตัวตามไปด้วยนั่นเอง  เศรษฐกิจโลก

 

เครดิต  fifa2023online.com

 

ข่าวแนะนำ